กฎหมายหลักประกันทางธุรกิจและหน้าที่ของผู้บังคับหลักประกัน
สาระสำคัญของกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ
กำหนดให้มีการนำทรัพย์สินที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจมาใช้เป็นหลักประกันการชำระหนี้ได้และช่วยลดข้อจำกัดหลัก
ประกันด้วยทรัพย์สิน
(จำนอง จำนำ ) ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ท่านไม่ต้องส่งมอบการครอบครองทรัพย์สิน
ท่านในฐานะผู้ให้หลักประกันยังคงใช้ทรัพย์สินนั้นผลิตสินค้าหรือบริการเพื่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มต่อไปได้
เกิดบุริมสิทธิ์ตามกฎหมายนี้ขึ้นเหนือตัวทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน
มีกระบวนการบังคับที่ รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
ทรัพย์สินที่เป็นหลักประกัน
-กิจการ ( เช่น กิจการร้านอาหาร กิจการรับเหมาก่อสร้าง )
-สิทธิเรียกร้อง ( เช่น สัญญาเช่า ลูกหนี้การค้า )
-สังหาริมทรัพย์ที่ใช้ในการประกอบธุรกิจ ( เช่น เครื่องจักร สินค้าคงคลัง )
-ทรัพย์สินทางปัญญา ( เช่น
สิทธิบัตร ลิขสิทธิ์ เครื่องหมายการค้า )
-อสังหาริมทรัพย์ ( เช่น บ้านจัดสรร คอนโดมิเนียม )
-ทรัพย์สินอื่น ( ที่กำหนดในกฎกระทรวง
)
รายการจดทะเบียน
-วัน เดือน ปี และเวลาที่จดทะเบียน
-ชื่อและที่อยู่ของลูกหนี้และผู้ให้หลักประกัน
-ชื่อและที่อยู่ของผู้รับหลักประกัน
-ชื่อและที่อยู่ของผู้รับใบอนุญาต ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ซึ่งยินยอมเป็นผู้บังคับหลักประกันและอัตราหรือจำนวนค่าตอบแทนของผู้บังคับหลักประกันกรณีนำกิจการมาเป็นหลักประกัน
-หนี้ที่กำหนดให้มีการประกันการชำระหนี้
-รายละเอียดของทรัพย์สินที่ใช้เป็นหลักประกัน
หากเป็นทรัพย์สินมีทะเบียนให้ระบุประเภทของทะเบียน
-หมายเลขทะเบียนและนายทะเบียนไว้ด้วย ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า หากเป็นสังหาริมทรัพย์ที่ผู้ให้หลักประกันใช้ในการประกอบธุรกิจให้ระบุประเภท
ปริมาณและมูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าวไว้ด้วย
-ข้อความที่แสดงว่าผู้ให้หลักประกันตราทรัพย์สินที่ระบุในรายการจดทะเบียนแก่ผู้รับหลักประกันเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้
-จำนวนเงินที่สูงสุดที่ตกลงใช้ทรัพย์สินเป็นประกัน
-เหตุบังคับหลักประกันตามสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ
-รายการอื่นตามที่เจ้าพนักงานทะเบียนกำหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา
การบังคับหลักประกันที่เป็นกิจการ
กรณีนำทรัพย์สินประเภท “กิจการ” มาเป็นหลักประกัน
คู่สัญญาต้องตกลงกันเลือกผู้บังคับหลักคนหนึ่ง หรือหลายคนเป็นผู้บังคับหลักประกัน
ลักษณะต้องห้ามของผู้บังคับหลักประกัน
เป็นหรือเคยเป็นบุคคลล้มละลาย
เคยได้รับโทษจำคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เคยเป็นผู้มีอำนาจในสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
เป็นผู้มีอำนาจของผู้ให้หรือผู้รับหลักประกัน
เคยถูกถอดถอนจากการเป็นผู้มีอำนาจตามกฎหมายหลักทรัพย์ฯ
เป็นข้าราชการการเมือง
เป็นข้าราชการประจำ
มีลักษณะต้องห้ามอย่างอื่นตามที่ประกาศกำหนด
◊ เป็นคนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ
◊ ถูกเพิกถอนใบอนุญาตการประกอบวิชาชีพ
คุณสมบัติผู้บังคับหลักประกัน
ต้องมีความเชี่ยวชาญและประสบการณ์
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
กลุ่มที่ 1
ได้รับใบอนุญาตต่อเนื่องกันไม่น้อยกว่า 3 ปี
-ทนายความ
-ผู้สอบบัญชี
กลุ่มที่ 2
ผู้ทำหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการบังคับหลักประกัน ได้แก่
-อนุญาโตตุลาการ
-ผู้เชี่ยวชาญศาล
-ผู้บริหารแผน
-ผู้ประเมินหลักทรพย์
-ผู้ประเมินหลักชั้นวุฒิ
-ผู้ทำแผน ที่ได้รับอนุญาตหรือ
ได้รับความเห็นชอบ หรือขึ้นทะเบียนจากหน่วยงานของรัฐ สมาคม
หรือตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
Tag: ทนายเชียงใหม่, ทนายเชียงใหม่ช่วยเหลือประชาชน, ทนายประชาชน, สำนักงานทนายความเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่, ทนายเชียงใหม่เก่งๆ, ปรึกษาทนายเชียงใหม่, ทนายอาสาเชียงใหม่, สภาทนายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่มืออาชีพ, ทนายความเชียงใหม่ช่วยเหลือ SME และ START UP, ทนายเชียงใหม่ความมุ่งมั่น, ทนายความเชียงใหม่คลายทุกข์, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่มุ่งมั่นช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่คลายทุกข์
#สำนักงานทนายเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่เก่งๆ #ปรึกษาทนายเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่ #ทนายอาสาเชียงใหม่ #สภาทนายเชียงใหม่ #ทนายความเชียงใหม่
Share on Facebook