ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ที่เกี่ยวข้อง
มาตรา 1055
ห้างหุ้นส่วนสามัญย่อมเลิกกันด้วยเหตุดั่งกล่าวต่อไปนี้
(1)
ถ้าในสัญญาทำไว้มีกำหนดกรณีอันใดเป็นเหตุที่จะเลิกกันเมื่อ มีกรณีนั้น
(2)
ถ้าสัญญาทำไว้เฉพาะกำหนดกาลใด เมื่อสิ้นกำหนดกาลนั้น
(3)
ถ้าสัญญาทำไว้เฉพาะเพื่อทำกิจการอย่างหนึ่งอย่างใดแต่อย่างเดียว เมื่อเสร็จการนั้น
(4)
เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งให้คำบอกกล่าวแก่ผู้เป็นหุ้นส่วนคนอื่น ๆ
ตามกำหนดดั่งบัญญัติไว้ใน มาตรา 1056
(5)
เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งตาย หรือล้มละลายหรือตกเป็นผู้ไร้ ความสามารถ
มาตรา 1056
ถ้าห้างหุ้นส่วนได้ตั้งขึ้นไม่มีกำหนดกาลอย่างหนึ่ง อย่างใดเป็นยุติ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า จะเลิกได้ต่อเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่ง
บอกเลิกเมื่อสิ้นรอบปีในทางบัญชีเงินของห้างหุ้นส่วนนั้น และผู้เป็น
หุ้นส่วนนั้นต้องบอกกล่าวความจำนงจะเลิกล่วงหน้าไม่น้อยกว่าหกเดือน
มาตรา 1057
ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดร้องขอเมื่อมีกรณีอย่างใด อย่างหนึ่งดั่งจะกล่าวต่อไปนี้ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ศาลอาจสั่งให้ห้างหุ้นส่วนสามัญเลิกกัน
เสียก็ได้คือ
(1)
เมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งนอกจากผู้ร้องฟ้องนั้น ล่วงละเมิด บทบังคับใด ๆ
อันเป็นข้อสาระสำคัญซึ่งสัญญาหุ้นส่วนกำหนดไว้แก่ตน
โดยจงใจหรือเลินเล่ออย่างร้ายแรง
(2) เมื่อกิจการของห้างหุ้นส่วนนั้นจะทำไปก็มีแต่ขาดทุนอย่างเดียว
และไม่มีหวังจะกลับฟื้นตัวได้อีก
(3)
เมื่อมีเหตุอื่นใด ๆ ทำให้ห้างหุ้นส่วนนั้นเหลือวิสัยที่จะดำรง คงอยู่ต่อไปได้
ตัวอย่าง
คำพิพากษาศาลฎีกา ที่น่าสนใจ
คำพิพากษาศาลฎีกาที่
4245/2551
โจทก์และจำเลยต่างมีปัญหาด้านการเงิน
ประสงค์จะเลิกกิจการห้างหุ้นส่วนกัน
จำเลยกลับท้าให้โจทก์ฟ้องคดีและให้การต่อสู้คดีปฏิเสธการเป็นหุ้นส่วนกับโจทก์เช่นนี้
ถือได้ว่ามีเหตุทำให้ห้างหุ้นส่วนเหลือวิสัยที่จะดำรงคงอยู่ต่อไปได้ตาม ป.พ.พ.
มาตรา 1057 (3) ดังนั้น ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า โจทก์มีสิทธิร้องขอให้ศาลสั่งเลิกห้างหุ้นส่วนได้
แม้โจทก์จะไม่ได้มีคำขอท้ายฟ้องให้ศาลสั่งให้เลิกห้างหุ้นส่วน
แต่ก็เห็นความประสงค์ของโจทก์ได้ว่าต้องการให้สั่งเลิกห้างหุ้นส่วนจึงได้ขอแบ่งทุน
เมื่อไม่ปรากฏว่าห้างหุ้นส่วนนี้มีลูกหนี้
เจ้าหนี้หรือผู้เป็นหุ้นส่วนได้ออกเงินทดรองและค่าใช้จ่ายของตนไปเพื่อจัดการค้าของห้าง
สินทรัพย์ของห้างหุ้นส่วนมีเพียงอาคารและเครื่องทำน้ำดื่มเท่านั้น
กิจการทำน้ำดื่มก็เพิ่งจะเริ่มต้นยังไม่ปรากฏกำไรหรือขาดทุนในการดำเนินกิจการ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า หากจะให้มีการชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนก็คงจะไม่ได้ข้อเท็จจริงเพิ่มขึ้นแต่ประการใด
จึงสมควรพิพากษาแบ่งทุนให้โจทก์ได้โดยไม่ต้องชำระบัญชี
ข้อแนะนำเพิ่มเติมจากทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่
1 โจทก์
ต้องมีคำขอท้ายฟ้องแพ่งให้ศาลมีคำสั่งแสดงว่าห้างหุ้นส่วนจำกัด เลิกกัน และทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า ให้มีคำสั่งแต่งตั้งโจทก์เป็นผู้ชำระบัญชี
2
ปกติแล้วการชำระบัญชีเป็นหน้าที่ของ หุ้นส่วนผู้จัดการ
3
ผู้จัดการมรดกของหุ้นส่วนผู้จัดการผู้ตายถือเป็นผู้มีส่วนได้เสียขอตั้งผู้ชำระบัญชีได้
4
กรณีผู้ชำระบัญชีเดิมไม่ปฏิบัติตามหน้าที่ ทีมทนายเชียงใหม่ และสำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ ขอเรียนว่า สามารถยื่นคำร้องต่อศาลให้ถอดถอนและขอให้ตั้งผู้ชำระบัญชีคนใหม่ได้
โดยทำเป็นคำร้องในคดีเดิม
5
ค่าธรรมเนียมศาล เรื่องละ 200 บาท
6
เสนอคำฟ้องต่อศาลที่จำเลยมีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
Tag: ทนายเชียงใหม่, ทนายเชียงใหม่ช่วยเหลือประชาชน, ทนายประชาชน, สำนักงานทนายความเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่, สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่, ทนายเชียงใหม่เก่งๆ, ปรึกษาทนายเชียงใหม่, ทนายอาสาเชียงใหม่, สภาทนายเชียงใหม่, ทนายความเชียงใหม่มืออาชีพ, ทนายความเชียงใหม่ช่วยเหลือ SME และ START UP, ทนายเชียงใหม่ความมุ่งมั่น, ทนายความเชียงใหม่คลายทุกข์, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่มุ่งมั่นช่วยเหลือประชาชน, สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่คลายทุกข์
#สำนักงานทนายเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายในจังหวัดเชียงใหม่ #สำนักงานกฎหมายเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่เก่งๆ #ปรึกษาทนายเชียงใหม่ #ทนายเชียงใหม่ #ทนายอาสาเชียงใหม่ #สภาทนายเชียงใหม่ #ทนายความเชียงใหม่
Share on Facebook